ชาวโลกท่องเที่ยวไทย

 



                          


                                                                                 ภาคใต้สมัยก่อนประวัติศาสตร์

หลักฐานทางโบราณคดีก่อนการสำรวจและขุดค้น แสดงว่าในภาคใต้มีชุมชนสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ๒ พวกคือชนชาวถ้ำ และ ชน ชาวน้ำ ชนชาวถ้ำปรากฏขึ้นในภาคใต้ไม่น้อยกว่า ๒๐,๐๐๐ ปีมาแล้ว และเจริญก้าวหน้าขึ้นเมื่อประมาณ ๕,๐๐๐ - ๖,๕๐๐ ปีมาแล้ว พวกนี้ ใช้ถ้ำเป็นที่อยู่อาศัยและประกอบกิจกรรม ใช้ชีวิตอยู่ในป่าเขาโดยเข้าป่าล่าสัตว์แบบสังคมนายพราน เช่น ในเขต จังหวัด สุราษฎร์ธานี มีถ้ำเบื้องแบน อำเภอคีรีรัฐนิคม ถ้ำปากอมและถ้ำเขาชีชัน อำเภอบ้านตาขุน เขตจังหวัดพังงาถ้ำสุวรรณคูหา อำเภอตะกั่วทุ่ง เขตจังหวัดกระบี่ ถ้ำเขานุ้ย อำเภออ่าวลึก ถ้ำสระและถ้ำต้นเหรียงเขายิงหมี อำเภอปลายพระยา เขตจังหวัดนครศรีธรรมราช ถ้ำเขาหินตก อำเภอร่อนพิบูลย์ ถ้ำตาหมื่นยม อำเภอฉวาง เขตจังหวัดตรัง ถ้ำเขาปีนะ เขตจังหวัดพัทลุง ถ้ำเขาชัย- สน อำเภอเขาชัยสนเป็นต้น ชนชาวน้ำมีถิ่นอาศัยบริเวณที่อยู่ในแนวฝั่งทะเลอาศัยตามถ้ำหรือที่ราบ ใกล้ฝั่ง และถ้ำเกาะ เช่น เขตจังหวัดกระบี่ ถ้ำผีหัวโต อำเภออ่าวลึก เพิงผาเขาขนาบน้ำ อำเภอเมืองกระบี่ ถ้ำเขาหลักอำเภอ คลองท่อม เขตจังหวัดตรัง ที่หาดสำราญ และ เขตจังหวัดภูเก็ต หาดกมลา อำเภอกระทู้ เป็นต้น


                                                                            ภาคใต้ช่วง พ.ศ. ๒๕๐๐ - ปัจจุบัน

หลังพ.ศ. ๒๔๓๐อิทธิพลจากการจัดการศึกษาตามแนวตะวันตกและแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติส่งผลให้ผู้ คน และ วัฒนธรรมท้องถิ่นเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วสังคมเครือญาติและสังคมร่วมอาชีพค่อยเปลี่ยน สังคมเครือญาติและสังคมร่วมอาชีพค่อยเปลี่ยนเป็นสังคมต่างกลุ่มต่าง อาชีพวัฒนธรรมการร่วมแรงแบ่งปันเปลี่ยน เป็นวัฒนธรรมการแข่งขันซื้อขาย การผลิตที่อาศัยความรู้และความถนัดแบบดั่งเดิม ลดลงทั้งทางด้านปริมาณและ คุณภาพ งานฝีมือที่อุดมด้วยเชิงช่าง และภูมิปัญญาชาวบ้านถูกผลิตภัณฑ์จากโรงงานบีบคั้นให้ ช่างฝีมือ หันมาขาย แรงงานเพื่อความอยู่รอด สงครามการแย่งชิงประชาชนระหว่างระบบทุนนิยมกับระบบสังคมนิยมทำให้คนรุ่นใหม่ดูแคลนวัฒนธรรมดั่งเดิมเห็นผู้ อาวุโสเป็น "เต่าล้านปี" เป็นศาสนา เป็น "ยาเสพติด " เห็นว่า " งานคือเงินเงิน คืองานบันดาลสุข "ปัญหาทาง ลัทธิทำให้ เวลาและ สถานที่ทำกินของชาวบ้านแคบลง เพราะความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินจนรัฐต้องเร่ง การวางแผน ครอบครัวคำปลุก เร้า "ลูกมากจะยากจน " ส่งผลทางด้านจิตวิทยาและสังคมให้ความผูกพันธ์ระหว่าง เครือญาติเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมความ ผูกพันธ์ ระหว่างครูและลูกศิษย์ก็ลดน้อยลง สรุปว่าสถาบันที่เคยเป็นแกน นำสังคมท้องถิ่นลดบทบาท และความสำคัญลงมี วัฒนธรรมใหม่เข้ามาแทนที่ความเจริญทางวัตถุนำความเจริญ ทางด้านจิตใจ วัฒนธรรมอุตสาหกรรมเข้ามาแทนที่วัฒนธรรมเกษตรกรรมการบริโภคแบบสังคมเมืองหลังไหลเข้ามาสู่สังคม ชนบทศิลปะของสังคมเมืองซึ่งรับช่วงมาจากต่างชาติรุกรานเข้าแทนที่วัฒนธรรมพื้นบ้านโดยเฉาะอย่างยิ่งวัฒนธรรมทางด้านสถาปัตยกรรม พาณิชย์กรรม ค่านิยมและโลกทัศน์ การพัฒนาต่างๆ ใช้วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีเป็นธงนำความเป็นมนุษย์ชาติ ในช่วงทศวรรษหลังนี้ นักวิชาการ นักบริหาร เริ่มเห็นความสำคัญของวัฒนธรรมพื้นบ้านมากขึ้น พยายามนำเอาวัฒนธรรม พื้นบ้านกลับมาใช้เป็นกลไกในการพัฒนาสังคม ความรู้ความถนัดแบบดั้งเดิมกำลังถูก "ปัดฝุ่น" เพื่อสอด ประสานกับ วัฒนธรรมใหม่ อย่างท้าทายแต่ยังค่อนข้างสับสนในทางปฏิบัติและ ทฤษฎี


ภาคใต้ 

สถานที่ท่องเที่ยว

 ป่าพรุสิรินธร ป่าพรุสิรินธร เป็นส่วนหนึ่งของป่าพรุโต๊ะแดง ป่าพรุแห่งสุดท้ายของประเทศไทย ซึ่งคลุมพื้นที่ของ 3 อำเภอ คือ อำเภอตากใบ อำเภอสุไหงโกลก และอำเภอสุไหงปาดี ม...


เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ฮาลา-บาลา เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ฮาลา-บาลา เป็นพื้นที่อนุรักษ์แห่งใหม่ของประเทศไทย ได้รับการประกาศจัดตั้งอย่างเป็นทางการเมื่อปี พ.ศ. 2539 อันเป็นแนวชายแดนไทย-มา...


อุทยานแห่งชาติเทือกเขาบูโดสุไหงปาดี อุทยานแห่งชาติเทือกเขาบูโด – สุไหงปาดี สมัยก่อนเทือกเขาบูโด-สุไหงปาดี เป็นส่วนหนึ่งของทิวเขาสันกาลาคีรีที่แบ่งเขตแดนไทย-มาเลเซีย เคยเป็นที่ซ่องส...


สวนรวมพรรณไม้ป่า 60 พรรษา สวนรวมพรรณไม้ป่า 60 พรรษา ตั้งอยู่บริเวณที่ดินสาธารณประโยชน์ ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ หมู่ที่ 3 ต.สุไหงปาดี อ.สุไหงปาดี มีพื้นที่ทั้งหมด 100 ไร่เป็นสวนที่ท...


มัสยิดกลาง (ใหม่) มัสยิดกลาง ตั้งอยู่ที่บ้านบางนรา ก่อนถึงหาดนราทัศน์ เป็นสถานที่ประกอบศาสนกิจของชาวไทยที่นับถือศาสนาอิสลาม มัสยิดกลางนราธิวาสนี้สร้างขึ้นเมื่อปีพ.ศ. 2...


มัสยิดวาดีอัลฮูเซ็น มัสยิดวาดีอัลฮูเซ็น บ้านตะโละมาเนาะ ตำบลลุโบะสาวอ ห่างจากจังหวัดนราธิวาส เป็นระยะทาง 25 กิโลเมตร ตามทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 42 แล้วแยกที่บ้านบือราแง นา...


พระพุทธอุทยานเขากง พระพุทธอุทยานเขากง มีเนื้อที่ 142 ไร่ ตั้งอยู่ที่ตำบลลำภู จากตัวเมืองใช้เส้นทางนราธิวาส-ระแงะ (ทางหลวงหมายเลข 4055) ประมาณ 9 กิโลเมตร จะมองเห็นวัดเขาก...


น้ำตกสิรินธร น้ำตกสิรินธร ลักษณะโดยทั่วไปไม่ใช่น้ำที่ตกมาจากผาสูง หากแต่เป็นลักษณะธารที่ค่อยๆลาดไหลมาจากแนวป่าสูง มีแอ่งน้ำลานหิน นั่งพักผ่อนได้ ธารน้ำตกจะไหลไปรวม...


น้ำตกฉัตรวาริน น้ำตกฉัตรวาริน อยู่ที่ตำบลโต๊ะเด็ง ไม่ไกลจากตัวเมือง ไปตามทางหลวงหมายเลข 4056 ถึงโรงพยาบาลสุไหงปาดีแล้วเลี้ยวซ้ายไปตามถนนอีก 6 กิโลเมตร ทางเข้าลา...


ชายหาดนราทัศน์ ชายหาดนราทัศน์ เป็นหาดทรายขาวสะอาดยาวประมาณ 5 กิโลเมตร ไปสิ้นสุดที่ปลายแหลมด้านปากแม่น้ำบางนราซึ่งใช้เป็นสถานที่จัดการแข่งขันเรือกอและที่จัดขึ้น...


วนอุทยานอ่าวมะนาว วนอุทยานอ่าวมะนาว ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ตำบลกะลุวอเหนือ ตามทางหลวงหมายเลข 4084 (นราธิวาส-ตากใบ) ประมาณ 3 กิโลเมตร และมีทางแยกไปสู่หาดอีก 3 กิโลเมตร ...


ศาลเจ้าแม่โต๊ะโมะ ศาลเจ้าแม่โต๊ะโมะ ตั้งอยู่ที่ซอยภูธร ถนนเจริญเขต ในเขตเทศบาลตำบลสุไหงโกลก เดิมทีเจ้าแม่โต๊ะโมะนี้ประดิษฐานอยู่ที่บ้านโต๊ะโมะ อำเภอสุคิริน ต่อมาชาวบ้าน...


น้ำตกธารโต น้ำตกธารโต อยู่ที่ตำบลถ้ำทะลุ ห่างจากตัวเมืองยะลาไปตามถนนสายยะลา-เบตง (ทางหลวง 410) กิโลเมตรที่ 47-48 มีทางแยกขวาไปอีกราว 1 กิโลเมตร เป็นน้ำตกขนาดใหญ่...

Advertising Zone    Close
 
Online:  1
Visits:  4,617
Today:  11
PageView/Month:  28

ยังไม่ได้ลงทะเบียน

เว็บไซต์นี้ยังไม่ได้ลงทะเบียนยืนยันการเป็นเจ้าของเว็บไซต์กับ Siam2Web.com